รายชื่อผู้นำเสนอผลงานวิจัย ปีการศึกษา 2561
Submitted by tcepadmin on Mon, 2018-01-08 13:38
ห้อง | ลำดับที่ | ชื่อ-นามสกุล | ชื่อเรื่องผลงานวิจัย |
---|---|---|---|
A | 1 | ภัทรพร เมฆาวุฒิกุล | การใช้ผลการตรวจโทรโปนิน ที ความไวสูงที่ 0 และ 1 ชั่วโมงเทียบกับวิธีแปลผลตรวจที่ 0 และ 3 ชั่วโมง เพื่อช่วยวินิจฉัยภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันในห้องฉุกเฉิน |
A | 2 | ณัฐชัย กิตติพศ | ปัจจัยที่ส่งผลต่อการรับไว้รักษาในโรงพยาบาล ของผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจห้องบนสั่นพริ้วร่วมกับภาวะหัวใจเต้นเร็ว ในโรงพยาบาลราชวิถี |
A | 3 | ภวินท์ ฟู่เจริญ | การค้นหาปัจจัยที่ส่งผลให้ผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ชนิด ST-Segment Elevation Myocardial Infarction (STEMI) ที่มาห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลนพรัตนราชธานี ได้รับการส่งตัวไปโรงพยาบาลที่สามารถเปิดขยายหลอดเลือดหัวใจล่าช้ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน |
A | 4 | สุภัทรา อินทร์อยู่ | การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อระยะเวลาตั้งแต่เกิดอาการจนมาถึงโรงพยาบาลล่าช้า ในผู้ป่วย Acute ST elevation myocardial infarction ที่มารับการรักษา ณ ห้องฉุกเฉิน โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี |
A | 5 | ณัฐนิช นทเกล้า | การศึกษาเปรียบเทียบอัลกอริทึ่มโทรโปนินความไวสูง 0/1 และ 0/3 ชั่วโมง ในการวินิจฉัยภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิดส่วนเอสทีไม่ยกว่ามีความสอดคล้องกันหรือไม่ |
A | 6 | ธนัญชนก นวลนาค | การเพิ่มคุณภาพของการปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉินโดยการใช้เครื่องมือรายงานประสิทธิภาพการกดหน้าอกผ่านภาพและเสียงขณะปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพ |
A | 7 | จริยา ภูดิศชินภัทร | ผลการอบรมการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานต่อทัศนคติความมั่นใจและความรู้ของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่หนึ่ง |
A | 8 | ธีรวุฒิ ภักดิ์แจ่มใส | ความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาการให้ยา Epinephrine และผลลัพธ์ในผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้นที่ห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ |
A | 9 | ทศพล เอิ้อมสราญวรกุล | ความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาการกู้ชีพขั้นสูงที่ห้องฉุกเฉินและผลลัพธ์ของผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้น |
A | 10 | เพชรรัตน์ อมรสันต์ | การศึกษาหาความหนาของทรวงอกของกลุ่มประชากรไทยเพื่อนำไปเปรียบเทียบความลึกในการกดหน้าอกกู้ชีพ |
A | 11 | พัชราภรณ์ คล่องแคล่ว | ความสามารถ (ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติ) ในการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานในผู้ใหญ่ของเด็กนักเรียนระดับประถมศึกษา |
A | 12 | บัญจพารัตน์ แซ่ลิ้ม | การใช้ระดับแลคเตทในเลือดเพื่อพยากรณ์การกลับมาของระบบไหลเวียนโลหิต ในผู้ป่วยที่เกิดภาวะหัวใจหยุดนอกโรงพยาบาล ที่ห้องฉุกเฉิน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ |
A | 13 | ดุษฎี ชีวินกฤตย์กุล | การเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการใช้เครื่องฟื้นคืนคลื่นหัวใจด้วยไฟฟ้าแบบอัตโนมัติ 3 ยี่ห้อในกลุ่มประชาชนทั่วไป |
A | 14 | สรณ สุทธิวานิช | ความชุกของภาวะเลือดเป็นกรดจากการตรวจวิเคราะห์แก้สในเลือดผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจหยุด ณ ห้องฉุกเฉิน |
A | 15 | สุนทรา บุญชู | ความรู้และทักษะการใช้ระบบกระตุกหัวใจไฟฟ้าอัตโนมัติในเครื่องกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้า ก่อนและหลังอบรมการช่วยชีวิตพื้นฐานในพยาบาลห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช กรมแพทย์ทหารอากาศ |
A | 16 | ภคพล เอี่ยมไพบูลย์พันธ์ | การศึกษาหาความลึกที่เหมาะสมของการกดหน้าอกในประชากรไทย โดยการประเมินผลจากเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ทรวงอก |
A | 17 | นวลไหม เอ่งฉ้วน | การศึกษาความรู้และทัศนคติต่อการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานในครูผู้สอนโรงเรียนอำมาตย์พานิชนุกูลจังหวัดกระบี่ โดยการใช้สื่อการนำเสนอ |
A | 18 | รัฐพล จันทรสม | คุณภาพของการกดหน้าอกเพื่อช่วยฟื้นคืนชีพ เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มที่ผ่านการอบรมโดยการดูวิดีทัศน์ กับกลุ่มที่ผ่านการอบรมการฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน |
A | 19 | นิสาชล แซ่เล้า | ความแม่นยำของค่าแรงดันย่อยของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากเส้นเลือดดำในการทำนายแนวโน้มการกลับมาเต้นของหัวใจ |
A | 20 | ศิริลักขณา รูขะจี | ปัจจัยที่มีผลต่อต่อการรอดชีวิตของผู้ป่วยที่ได้รับการช่วยฟื้นคืนชีพที่ห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลขอนแก่น |
A | 21 | กัญญาณัฐ กลิ่นหอมโสภณ | การศึกษาผลของกระดานรองหลังต่อความลึกของการกดหน้าอกในหุ่นจำลอง |
A | 22 | เอกชัย เชิงชุมพิทักษ์ | การประเมินความถูกต้องการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานของบุคคลทั่วไปจากคำสั่งแนะนำทางโทรศัพท์ระหว่างรอหน่วยปฏิบัติการการแพทย์ในผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาล |
B | 1 | วิสาข์ พีระพัฒนโภคิน | การศึกษาความชุกของการสั่งจ่ายยาที่มีแนวโนมจะเกิดปฏิกิริยาระหว่างยากับยาต้านเกร็ดเลือดและยาต้านการแข็งตัวของเลือดในผู้ป่วยโรคหัวใจ ณ ห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า |
B | 2 | จักรพันธ์ ธรรมเมธากาญจน์ | ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการมาตรวจซ้ำภายใน 48 ชม ของผู้ป่วยปวดท้องหลังจากจำหน่ายออกจากห้องฉุกเฉิน |
B | 3 | วรรณประภา มณีกัญญ์ | ผู้ป่วยสูงอายุไทยที่เข้ารับบริการในแผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉินของโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ |
B | 4 | รัตน์กมล เรืองใสส่อง | ความชุก การรักษา และผลการรักษาของโรคความดันโลหิตสูงวิกฤตชนิดเร่งด่วนในผู้ป่วยไทย |
B | 5 | นวัสน์ หิรัณย์จิรากร | การเกิดเป็นซ้ำของแอนาฟิแลกซิสโดยไม่ได้รับสิ่งกระตุ้นซ้ำ ในผู้ป่วยแผนกฉุกเฉินคณะแพทยศาสตร์ วชิรพยาบาล |
B | 6 | จิราภา ทองผิว | การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการบาดเจ็บรุนแรง ในผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุจักรยานที่มารับการรักษาที่โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช |
B | 7 | อิทธิชัย หังสพฤกษ์ | อัตราการเกิดคะแนน EDAC น้อยกว่า 16 คะแนน ในผู้ป่วยที่มาด้วยอาการเจ็บหรือ แน่นหน้าอกร่วมกับคลื่นไฟฟ้าหัวใจไม่มีรูปแบบการขาดเลือด และผลโทรโปนินที ที่ 0 และ 1 ชั่วโมง เป็นลบ |
B | 8 | รชยา อังคพินิจ | อัตราการเกิดภาวะความเจ็บป่วยเนื่องจากความร้อนจากการออกกําลังในพลทหารของกองทัพอากาศ ณ โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช กรมแพทย์ทหารอากาศ |
B | 9 | กฤตานน ทัฬหกุล | ระบาดวิทยาของโรคติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจส่วนต้นโดยเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิด เอและบี ในแผนกเวชศาสตร์ฉุกเฉินโรงพยาบาลตํารวจ |
B | 10 | ชนิดา ศักดิ์เพชร | การศึกษาเรื่องความชุกของผู้ป่วยสูงอายุที่เข้ารับการรักษาด้วยอาการปวดท้องเฉียบพลัน และได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัด ณ ห้องอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน โรงพยาบาลเลิดสิน |
B | 11 | วิมลมาศ อยู่ยรรยง | การศึกษาอัตราการเสียชีวิตที่ 30 วัน ในผู้ป่วย sepsis ของ qSOFA เปรียบเทียบกับ SIRS ในการคัดกรองผู้ป่วยในห้องฉุกเฉิน |
B | 12 | ธวัชชัย ลีลาวิทยานนท์ | ผลการช่วยชีวิตผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาลที่ห้องฉุกเฉินก่อนและหลังการใช้แนวทางการช่วยฟื้นคืนชีพปี 2015 |
B | 13 | จิระพงศ์ รุจิราพรพงศ์ | การศึกษาประสิทธิภาพยาปฏิชีวนะในบาดแผลสุนัขกัดที่มีความเสี่ยงต่ำ |
B | 14 | ศุภวัฒน์ วัฒนกุลวิวัฒน์ | การเปรียบเทียบความสามารถในการทำนายอัตราการตายและการเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยวิกฤต ของqSOFA score, SOFA, APACHEII, MEDSในผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด ณ ห้องฉุกเฉิน รพ.พระมงกุฎเกล้า |
B | 15 | ประติภา อารมณ์รัตน์ | ความสัมพันธ์ระหวางปริมาตรม้ามและปริมาณเกล็ดเลือดในผู้ป่วยไข้เลือดออก |
B | 16 | พิมล บูรณะอมร | การศึกษาความไวและความจำเพาะของโพรแคลซิโทนิน สำหรับเกณฑ์การวินิจฉัยใหม่ภาวะพิษเหตุติดเชื้อ พ.ศ. 2559 ในห้องฉุกเฉิน |
B | 17 | ณหทัย จงประสิทธิ์กุล | ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของผู้ป่วยห้องฉุกเฉินและการตรวจพบภาวะติดเชื้อในกระแสโลหิต |
B | 18 | จารุวัฒน์ สำลีพันธ์ | การศึกษาภาวะติดเชื้อทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่แผนกเวชศาสตร์ฉุกเฉิน โรงพยาบาลราชวิถี |
B | 19 | ปภาวดี แจ้งสุทธิวรวัฒน์ | ความถูกต้องในการวินิจฉัยภาวะติดเชื้อโดยใช้ qSOFA SCORE เปรียบเทียบกับ SIRS ในผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉิน |
B | 20 | ศิวัชญ์ ต้อยมาเมือง | ความสัมพันธ์ระหว่างการกำจัดแลคเตตกับอัตราการเสียชีวิตในกลุ่มผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือด |
B | 21 | เมธิตา อิทธิสัญญากร | การศึกษาความชุกโรคติดเชื้อของผู้สูงอายุที่เข้ารับบริการแผนกฉุกเฉิน ในประเทศรายได้ระดับกลาง |
B | 22 | กานต์ สุทธาพานิช | ค่าสารแลคเตทในเลือดดําแรกเริ่มที่แผนกฉุกเฉินกับการพยาการณ์การตายในผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดรุนแรง |
C | 1 | เทนซิน ทอแซม | การทดลองแบบสุ่มและการวิเคราะห์ต้นทุนประสิทธิผลของเครื่องมือแปลผลเลือด "ไอสแตท" ในการลดระยะเวลาตั้งแต่ผู้ป่วยมาถึงโรงพยาบาลถึงเวลาที่แพทย์ตัดสินใจให้การรักษาในผู้ป่วยที่ถูกคัดแยกอยู่ในระดับรีบด่วน |
C | 2 | ณัชชา ชัยศุภมงคลลาภ | การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความล่าช้าในการใช้สายสวนหลอดเลือดหัวใจเพื่อขยายหลอดเลือดด้วยบอลลูนหรือขดลวดในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิดส่วนเอสทียกที่มาที่แผนกฉุกเฉิน โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ |
C | 3 | ยุวลักษณ์ บุตรศรี | การใช้ Modified Early Warning Score (MEWS) ในการประเมินผู้ป่วยในห้องฉุกเฉินเพื่อช่วยในการตัดสินใจในการส่งต่อผู้ป่วย (Disposition) จากห้องฉุกเฉินไปยังห้องสังเกตอาการ โดยพิจารณาจากความต้องการการช่วยเหลือชีวิต (Life Saving Intervention) |
C | 4 | ชญาณี เก้าเอี้ยน | เปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจและความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อการใช้แผ่นพับให้ความรู้เรื่องการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุสมผล |
C | 5 | ชนัดดา งามไพบูลย์สมบัติ | ผลของแนวทางการจัดการความปวดเฉียบพลัน ณ ห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลรามาธิบดี |
C | 6 | นภัส ลาวัณย์ทักษิณ | การศึกษาระยะเวลาการรอคอยในห้องฉุกเฉินภายหลังการปรับวิธีจัดระดับความรุนแรงของผู้ป่วยภายในห้องฉุกเฉิน โรงพยาบาลรามาธิบดี |
C | 7 | จันทิมา โอภาวัฒนสิน | การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการคัดแยกผู้ป่วยต่ำกว่าระดับจริง ในกลุ่มผู้ป่วย ESI ระดับ 3-5 ที่รับบริการที่คลินิกดาวเหลือง โรงพยาบาลรามาธิบดี |
C | 8 | อังกฤช พิชญังกูร | การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะหัวใจหยุดในกลุ่มผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต ผู้ป่วยฉุกเฉินเร่งด่วน และผู้ป่วยฉุกเฉินไม่รุนแรงในห้องฉุกเฉิน |
C | 9 | นุรไอนี อาแว | ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดไส้ติ่งอักเสบเฉียบพลันแบบทะลุในผู้สูงอายุที่แผนกฉุกเฉิน |
C | 10 | ณัฐภัทร เสรีวิวัฒนา | ความแม่นยำในการคัดแยกผู้ป่วยของพยาบาลแผนกอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน โรงพยาบาลศรีนครินทร์ |
C | 11 | ชารียา ธเนศานนท์ | การศึกษาประสิทธิภาพของการใช้ National Early Warning Score ในการประเมินผุ้ป่วยในแผนกอุบัติฉุกเฉินโรงพยาบาลตำรวจ |
C | 12 | ณัฎฐ์ จักรขจรวัฒน์ | การศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการริเริ่มการนำวิธีการใส่ท่อช่วยหายใจชนิดรวดเร็วโดยใช้ยานำสลบและยาคลายกล้ามเนื้อ มาใช้ในห้องฉุกเฉิน |
C | 13 | รสกร คล้ายอ่างทอง | ประสิทธิภาพของไดอะซีแพมเมื่อเทียบกับยาหลอกในการช่วยลดความดันโลหิต เมื่อให้ร่วมกับยาลดความดัน ในผู้ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงเร่งด่วน |
C | 14 | จิตรลดา รุจิราภิลักษณ์ | ลักษณะผู้ป่วยเจ็บป่วยคัดกรองระดับ 3 ที่เสียชีวิตหลังเข้ารับการรักษาเป็นผู้ป่วยในจากแผนกฉุกเฉิน |
C | 15 | พดด้วง กิตติแสงธรรม | ความสัมพันธ์ของระยะเวลาในการอยู่ในห้องฉุกเฉินและอัตราการรอดชีวิตของผู้ป่วยที่มารับการรักษาในโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา |
C | 16 | ลักษณาวดี นิติวัฒนา | การศึกษาเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ในการการเสียชีวิตแบบป้องกันได้ของผู้ป่วยภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด แผนกอุบัติเหตุฉุกเฉิน โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา |
C | 17 | จุฑามาศ ไพรวัลย์ | ระยะเวลาการให้ยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยสมองขาดเลือดเฉียบพลัน แผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉินโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา |
C | 18 | อรชพรรนฐ์ สมฤาแสน | การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเกิดภาวะความแออัดในห้องฉุกเฉินกับอัตราการเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้นของผู้ป่วยในห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา |
C | 19 | ภัทรพล อินบรรเลง | ความแม่นยำของผลทางห้องปฏิบัติการในตัวอย่างเลือดที่เก็บล่วงหน้าจากโรงพยาบาลชุมชนเปรียบเทียบกับตัวอย่างเลือดซึ่งเก็บภายหลังที่โรงพยาบาลศูนย์ลำปาง |
C | 20 | ถาม์พร ทองพรรณ | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระยะเวลาการรับบริการในห้องฉุกเฉิน นานกว่า ๘ ชั่วโมงของโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช |
C | 21 | ชลิตพล งามเบญจวงศ์ | งานวิจัยศึกษาเปรียบเทียบความสอดคล้องในการคัดกรองผู้ป่วยระหว่างพยาบาลคัดกรองและแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน ด้วยระบบ Emergency Severity Index (ESI) ที่โรงพยาบาลตำรวจ |
C | 22 | สุธี คงเกียรติไพบูลย์ | การศึกษาผลของการปฏิบัติตามแนวทางการรักษาภาวะติดเชื้อและอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือด |
D | 1 | ชนกานต์ ภิริยะกากูล | ความสัมพันธ์ของการเกิด QTc interval prolongation กับภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เข้ารับการรักษา ณ ห้องอุบัติเหตุและฉุกเฉิน |
D | 2 | กรกฤต สุวรรณธีรางกูร | ความชุกของเชื้อแบคทีเรียที่อยู่บนพื้นผิววัตถุในห้องฉุกเฉิน โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า |
D | 3 | ธนิตาวดี เชื้อโชติ | การศึกษาเปรียบเทียบค่าการพยากรณ์ในผู้ป่วยโรคเลือดออกในทางเดินอาหารส่วนต้นที่กลุ่มงานเวชศาสตร์ฉุกเฉิน โรงพยาบาลราชวิถีระหว่างค่าพยากรณ์ Glasgow- Blatchford และ Complete Rockall score |
D | 4 | เอม สิรวราภรณ์ | อัตราการเกิดสมองบาดเจ็บที่จำเป็นต้องได้รับการผ่าตัด และปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดความผิดปกติของเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สมองในผู้สูงอายุที่ได้รับบาดเจ็บศีรษะชนิดไม่รุนแรง |
D | 5 | อภิชญา สุขประเสริฐ | ความสามารถในการพยากรณ์โรคของ FOUR score ในผู้ป่วยที่มาที่ห้องฉุกเฉินด้วยอาการซึมเฉียบพลัน |
D | 6 | สุขสันต์ คำนวณศิลป์ | ลักษณะของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ที่มาโรงพยาบาลภายใน 270 นาที แต่ไม่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด; การศึกษาในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย |
D | 7 | พงศกร ฉ่ำพึ่ง | อัตราการมาโรงพยาบาลช้าและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความล่าช้าในการเข้ารับบริการของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบเฉียบพลันในโรงพยาบาลราชวิถี |
D | 8 | ฐิติ ตั้งลิตานนท์ | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดทุพลภาพ ของผู้ป่วยเลือดออกในสมองชนิดเกิดขึ้นเองที่โรงพยาบาลราชวิถี |
D | 9 | เกษม สุนันท์ศิริกูล | ผลของการควบคุมความดันโลหิตแบบเข้มงวดในการรักษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแตก |
D | 10 | ภูดิศ บัวประเสริฐ | การศึกษาไปข้างหน้าเรื่องความชุกและปัจจัยเสี่ยงของภาวะขาดน้ำในผู้ป่วยสูงอายุชาวไทยของแผนกเวชศาสตร์ฉุกเฉิน |
D | 11 | ชัชวาลย์ เอื้อจารุพร | การเปรียบเทียบความถูกต้องในการวัดความรู้ทางด้านเวชศาสตร์ฉุกเฉินระหว่างการใช้อินเทอร์เน็ตกับตำราการแพทย์มาตรฐานในนักศึกษาแพทย์เวชปฏิบัติ |
D | 12 | จุฑามาศ พันธุยศยรรยง | ยาที่มีความสัมพันธ์ต่อการเกินค่าเป้าหมายของการรักษาในผู้ป่วยที่ใช้ยาวาร์ฟาริน ณ ห้องฉุกเฉิน โรงพยาบาลวชิรพยาบาล |
D | 13 | สุจินดา สามารถ | การทดสอบประสิทธิภาพของ Modified STONE score ในผู้ป่วยที่มีอาการปวดสีข้างในห้องฉุกเฉิน โรงพยาบาลรามาธิบดี |
D | 14 | อภิญญา เสาวลักษณ์สกุล | อัตราการรอดชีวิตและคะแนนประเมินความสามารถในการช่วยเหลือตัวเองของผู้ที่ได้รับการรักษาแบบประคับประคองเมื่อเข้ารักษาในห้องฉุกเฉิน |
D | 15 | มัณธนี จันทพัฒน์ | ปัจจัยที่มีผลต่อการกำเริบเฉียบพลันในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ที่ได้รับการรักษาโดยการนอนโรงพยาบาลราชวิถี |
D | 16 | ฉัตรนภา จำปาหอม | เปรียบเทียบอาการ และวันนอนเฉลี่ยผู้ป่วยในระหว่างการเกิดอาการกำเริบของโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังกับปอดติดเชื้อในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ในโรงพยาบาลราชวิถี |
D | 17 | อมรเกียรติ ภูมิอัครโภคิน | ปริมาณรังสีที่บุคลากรทางการแพทย์ได้รับจากการทำงานในห้องช่วยชีวิตฉุกเฉิน โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา |
D | 18 | ภรภัทร ฉิมประเสริฐ | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อระดับคุณภาพชีวิตของแพทย์ประจำบ้านสาขาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน |
D | 19 | พฤกษ์ หินหุ้มเพ็ชร | การเปรียบเทียบระดับแลคเตทในเลือดระหว่างการใช้สายรัด และการไม่ใช้สายรัด |
D | 20 | สมประสงค์ เกียรติวัฒนชัย | การศึกษาอัตราความถูกต้องของการระบุตำแหน่งเส้นเลือดแดงที่ข้อมือ ภายหลังการอบรมเรื่องการระบุตำแหน่งเส้นเลือดแดงโดยใช้คลื่นเสียงความถี่สูงเป็นสื่อการสอนในนักเรียนแพทย์ |
D | 21 | น้ำทิพย์ สังสันไทย | ลักษณะที่พบจากอัลตราซาวด์ข้างเตียงผู้ป่วย ในโรคลิ่มเลือดอุดกั้นในปอดในห้องฉุกเฉิน |
D | 22 | บัณฑวิช สุดสงวน | การตรวจอัลตราซาวด์เพื่อการวินิจฉัยสาเหตุของอาการเหนื่อยฉับพลันในผู้ป่วยฉุกเฉิน |
E | 1 | พาขวัญ ปิตานุเคราะห์ | การศึกษาเปรียบเทียบตำแหน่งและท่าทางที่เหมาะสมสำหรับการใส่ท่อช่วยหายใจนอกโรงพยาบาล |
E | 2 | ปัทมาภรณ์ พุทธาภิบาล | เปรียบเทียบอัตราการนอนโรงพยาบาลระหว่างการใช้เครื่องช่วยหายใจโดยใช้หน้ากากและการรักษาด้วยยาแบบมาตรฐานในผู้ป่วยโรคหอบหืดที่มีอาการหอบเฉียบพลัน ณ ห้องฉุกเฉินของโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช |
E | 3 | วลัยลักษณ์ สายธนู | ภาวะไม่พึงประสงค์ในผู้ป่วยอุบัติเหตุที่ได้รับการใส่ท่อช่วยหายใจระหว่างส่งต่อโรงพยาบาล |
E | 4 | ภาณุพันธุ์ สุวรรณวงศ์ | ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นจากการใส่ท่อช่วยหายใจด้วยวิธีการ Rapid Sequence Intubation ที่ห้องฉุกเฉิน วิเคราะห์ด้วย Propensity Score |
E | 5 | ณัชพล สินว์สุวรรณ | การสำรวจความคิดเห็นของผู้ป่วยสูงอายุชาวไทยเปรียบเทียบกับผู้ป่วยในวัยทำงานที่มาห้องฉุกเฉิน ในการเตรียมความพร้อมต่อการเกิดภาวะภัยพิบัติ |
E | 6 | จิรายุ จันทนาโกเมษ | การประเมินการดูแลรักษาเบื้องต้นของผู้ป่วยที่เรียกใช้บริการของระบบการแพทย์ฉุกเฉินเพื่อนำส่งโรงพยาบาลศิริราช |
E | 7 | ก่องกาญจน์ สุดสวาท | การเปรียบเทียบอัตราความสำเร็จของการใส่ท่อช่วยหายใจบนพื้นราบกับระดับเปลระหว่างสถานการณ์จำลองการช่วยชีวิตผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาล |
E | 8 | กันต์กนก ปิยะธรรม | ผลของการใสท่อช่วยหายใจนอกโรงพยาบาลในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะระดับปานกลางถึงรุนแรง |
E | 9 | นัฐพงษ์ บุญภิละ | ศึกษาเปรียบเทียบความถูกต้องการใช้เครื่องช็อกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติในนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานระหว่างกลุ่มที่ถูกสอนและกลุ่มที่อ่านคู่มืออย่างเดียวภายใต้สถานการณ์จำลอง |
E | 10 | เปรียบดาว เพชรรัตน์ | การศึกษาเปรียบเทียบผลการดำเนินงานของศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการทางการแพทย์ ภายใต้การควบคุมดูแลของโรงพยาบาลและองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น |
E | 11 | ณัฐพล สัตย์ซื่อ | การศึกษาการใช้กระดานรองหลังในระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ณ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ |
E | 12 | ชิตินทร บุญสุขจิตเสรี | ประสิทธิภาพของการฝึกอบรมหลักสูตรการดูแลผู้บาดเจ็บในห้วงก่อนถึงโรงพยาบาลสำหรับอาสาสมัครฉุกเฉินการแพทย์ (อฉพ.) |
E | 13 | อรฉัตร ศิลานุวัฒน์ | การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการรอดชีวิตและภาวะแทรกซ้อนในผู้บาดเจ็บหนักกับระยะเวลาที่ใช้ในการรักษาพยาบาล ณ จุดเกิดเหตุของศูนย์บริการการแพทย์ฉุกเฉินพระมงกุฎเกล้า |
E | 14 | พีรวิชญ์ จีรทีปตานนท์ | ลักษณะและผลทางคลินิก ของพิษจากเห็ดที่สัมพันธ์กับภาวะกล้ามเนื้อลายสลาย |
E | 15 | ณัฐยา พรมวัง | ระยะเวลาหลังถูกงูกะปะกัดจนตรวจพบความผิดปกติของค่าการแข็งตัวของเลือด ในผู้ป่วยโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ |
E | 16 | สุทธิศักดิ์ วัฒนสารสมบูรณ์ | การใช้ประโยชน์จากช่วงคิวทีที่ถูกปรับแก้ด้วยวิธีของราวตะฮารยูเพื่อทำนายการเกิดภาวะทอร์ซาดส์เดอ ปัวส์จากยา |
E | 17 | พัทนียา บุตรอ่อน | ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะหายใจล้มเหลวของผู้ป่วยที่ถูกงูที่มีพิษต่อระบบประสาทกัดในโรงพยาบาลขอนแก่น |
E | 18 | ประสาน เปี่ยมอนันต์ | การศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการพบการบาดเจ็บในช่องท้องจาก routine initial abdominal CT scan ในผู้ป่วย severe head injury ที่ห้องฉุกเฉิน |
E | 19 | กมลพรรณ ถิระพงษ์ | การทดสอบความแม่นยาของ Mild Traumatic Brain Injury risk score (MTBI) ในการทำนายการเกิดเลือดออกในสมองของผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะเล็กน้อย |
E | 20 | พิมลพร กมลศรี | ความหนาผนังทรวงอกโดยเฉลี่ยตำแหน่งเจาะระบายลมจากเยื่อหุ้มปอดในผู้ป่วยไทย |
E | 21 | ธันยพร ตั้งตรงจิตร | การศึกษาการเคลื่อนของกระดูกสันหลังส่วนคอระหว่างการเปิดทางเดินหายใจด้วยมือโดยการดึงขากรรไกรล่างจากทางด้านหน้า และการดันขากรรไกรล่างจากทางด้านหลัง ร่วมกับการประคองศีรษะและคอด้ วยมือ โดยใช้การถ่ายภาพรังสีกระดูกสันหลังส่วนคอด้ านข้าง |
E | 22 | สมมิตรี อ่อนละมัย | ปัจจัยที่มีผลต่อการเสียชีวิตในผู้ป่วยอุบัติเหตุที่มีค่าโอกาสในการรอดชีวิต มากกว่าหรือเท่ากับ 0.75 ของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า |